LEGO SYSTEM
ประกอบด้วย Layer แต่ละ Layer คือการตัดสินใจ เราจะตัดสินใจใน Leyer 1 ว่าจะ ซื้อ หรือ ขาย เมื่อตัดสินใจแล้ว จะเกิด position ขึ้น เราต้องรอจนรู้ว่าเราผิด หรือถูก ตามRisk Parameter ของเรา ถ้าถูก เราก็ทำ layer 1 ใหม่ซ้ำแบบเดิม แต่ถ้าผิด จะเกิด flow มาสู่การทำ Layer2 โดย Layer2 ต้องใช้ Method แบบเดียวกับ Layer1
เช่นใช้ Method Moving Average ก็ต้องใช้ Moving Average ตลอด ทุกLeyer ในLEGO นี้ แต่จะต้องเปลี่ยน Product ในแต่ละ Layer ไม่ให้ซ้ำกัน
โดยจำนวน lot ควรจะเท่ากับ Leyer1 ถ้าถูก ก็จะนำcash flow มาแก้ การผิด ใน Layer1 คือ ถ้า Layer2 ถูก เราจะสะสมcash flow จนได้จำนวนเท่ากับ หรือ มากกว่า การผิดในLayer1 ซึ่งก็เหมือนลักษณะการหา Cash flow มา cut loss ให้กับ Layer 1
แต่ ถ้า Layer2ผิด (รอจนรู้ว่าผิด คือเทียบกับค่าRisk Parameter) เราจะflowไป ทำ Layer3 ซึ่งต้องใช้Method เดียวกัน แต่เปลี่ยนproduct โดยจำนวนlot อาจจะใหญ่มากกว่า ขนาด Layer 1 ได้
การทำLEGO เราเน้นเรื่องการFlowของLayer ,การหาcash flow ของLayer 2,3,4 มาแก้ position ที่ผิดใน Layerที่1 ,การรู้สถิติWin rate, Risk Parameter ของ Method, Max Drawdown ของระบบLEGO หลังจากนี้เมื่อเรา มี Cash flow มากกว่า Max DDของ LEGOตัวที่1 เราสามารถ เอา Cash flow ที่เหลือนั้น มาใช้ 1. สร้าง LEGOตัวที่2 เหมือน LEGO ตัวที่1(ใช้Method เดียวกับ LEGO ตัวที่1)
2. สร้างLEGOตัวที่2 ใช้Method ที่2
3. ใช้แก้LEGO 1
4. ใช้ตามใจในพื้นที่ส่วนตัว
การใช้ Cash flow ควรจะกำหนดเป็นเปอร์เซ็นต์ ว่าจะใช้ในอะไร อย่างละกี่เปอร์เซ็นต์ ควรกำหนดให้ชัดตั้งแต่เริ่มต้น
เครดิต พี่ต้าน https://youtu.be/HqRAKY6Y5zM
Aucun commentaire:
Enregistrer un commentaire